กิจกรรมการอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านสู่สมุนไพรเชิงพาณิชย์

ระยะเวลาดําเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 – 30 กันยายน 2564

 

กิจกรรมที่ 1 การลงพื้นที่ สํารวจสถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์ เก็บแบบสํารวจความต้องการ และส่งเสริม การปลูกสมุนไพร

ผลการดําเนินงาน

  1. แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานโครงการฯ ของมหาวิทยาลัย จากคณาจารย์ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นคณะกรรมการดําเนินงาน
  2. จัดประชุมคณะกรรมการโครงการอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านสู่สมุนไพรเชิงพาณิชย์ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา โดย ผศ.ดร.ลินดา เกณฑ์มา อธิการบดี เป็นประธานในการ ประชุม
จัดประชุมคณะกรรมการโครงการอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านสู่สมุนไพรเชิงพาณิชย์

3. จัดทําและเตรียมแบบฟอร์มข้อมูลสมุนไพร

4. ลงพื้นที่ในจังหวัดสุพรรณบุรีทั้งหมด ๑๐ อําเภอ เพื่อดําเนินการดังนี้
4.1 ประชาสัมพันธ์โครงการ
กิจกรรมการหารือและประชุม เพื่อการส่งเสริมการปลูกและให้ความรู้ด้านสมุนไพร การเกษตร จัดประชุมกิจกรรมการสร้างสื่อแอนิเมชัน (Animation) เกี่ยวกับการอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้าน

4.2 ดําเนินการสํารวจสถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์ สํารวจความต้องการ สํารวจข้อมูลสมุนไพร และ ทดสอบความเหมาะสมพื้นที่ปลูกสมุนไพร

 

1) อําเภอสามชุก กลุ่มสมุนไพร ต.ย่านยาว

2) อําเภอเดิมบางนางบวชกลุ่มสมุนไพร ต.หัวเขา

3) อําเภอดอนเจดีย์กลุ่มสมุนไพรต.หนองสาหร่าย

4) อําเภออู่ทองอบต.พลับพลาไชยและกลุ่มสมุนไพรสวนยายสุขโคกหนองนา

5) อําเภอศรีประจันต์กลุ่มสมุนไพรต.ดอนปรู

6) อําเภอสองพี่น้องกลุ่มสมุนไพรอําเภอสองพี่น้อง

7) อําเภอเมืองสุพรรณบุรี กลุ่มสมุนไพร ต.สวนแตง

8) อําเภอด่านช้าง กลุ่มสมุนไพร อ.ด่านช้าง

9) อําเภอบางปลาม้าเกษตรอําเภอบางปลาม้า

10) อําเภอหนองหญ้าไซ กลุ่มสมุนไพรอําเภอหนองหญ้าไซ

ข้อเสนอแนะชนิดของพืชสมุนไพรที่เกษตรกรของจังหวัดสุพรรณบุรีควรปลูกในพื้นที่ และเป็น ตัวเลือกสําหรับการสนับสนุนพันธุ์พืชให้เกษตรกร