กิจกรรมที่ ๓ จัดทําแปลงต้นแบบด้วยระบบเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้าน

ผลการดําเนินงาน 1) การลงพื้นที่สํารวจแปลง เพื่อศึกษาการใช้ระบบเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะในแปลงสมุนไพร ๑.๑ วิสาหกิจชุมชนสวนกล้วยอู่ทอง ตําบลจรเข้สามพัน อําเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

ลงพื้นที่สํารวจระบบและแปลงปลูกการรดน้ําอัตโนมัติ ด้วยระบบ Timer

  1.2 ฟาร์ม แตะขอบฟ้า ตําบลปลายนา อําเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

ลักษณะโรงเรือนแบบปิด ขนาด กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร สูง 4 เมตร

 
2) แปลงต้นแบบด้วยระบบเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ ณ ศูนย์การศึกษาอู่ทองทวารวดี อําเภอ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 2.1 ระบบเทคโนโลยี
  • โรงเรือนแบบปิด หลังคาจั่ว 2 ชั้น
  • ระบบติดตามและควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในโรงเรือน ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นของดิน ความเข้มของแสง โดยใช้แผงควบคุมเซนเซอร์ที่สามารถควบคุมสภาพ อากาศได้ทั้งระบบอัตโนมัติ ตั้งเวลาและกําหนดเองจากผู้ใช้ (user manual)
  • ระบบควบคุมการให้น้ําอัตโนมัติ ตามความต้องการของพืชสมุนไพร ระบบน้ํา หยดและพ่นหมอกในแบบอัตโนมัติ ตั้งเวลาและกําหนดเองจากผู้ใช้ (user manual)
  • แผงควบคุมเซนเซอร์ ได้แก่ เซนเซอร์วัดความชื้นของดิน เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ และเซนเซอร์วัดความเข้มของแสง
  • ซอฟต์แวร์ติดตามและควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในโรงเรือน
  • การแจ้งเตือนผ่าน application line หากโรงเรือนมีความผิดปกติ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นของดิน ความเข้มของแสง 2.2 สมุนไพรที่ใช้เป็นต้นแบบในแปลง – ฟ้าทะลายโจร หรือ กัญชง